THE DEFINITIVE GUIDE TO ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา

The Definitive Guide to ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา

The Definitive Guide to ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา

Blog Article

ดัชนีหุ้นไทยเข้าโหมด‘กระทิง’ ขาย-ซื้อตัวไหน ตกรถทำอย่างไร

นิพนธ์ พัวพงศกร รำลึกถึง ม.ร.ว.อคิน รพีพัฒน์ นักสังคมวิทยา-มานุษยวิทยาคนสำคัญของไทย ผ่านบทเรียนภาคสนามจากการลงพื้นที่เก็บข้อมูลงานวิจัย

เมื่อไม่มีข้อมูลที่เพียงพอ ผู้ที่เกี่ยวข้องจึงอาจเลือกเพิกเฉย หรือมองผ่านเรื่องคุณภาพการศึกษาที่ย่ำแย่ ขณะที่คุณครูก็ไม่รู้ขอบเขตการสอนที่แน่ชัด และไม่รู้ว่านักเรียนคนใดต้องการอะไรเป็นพิเศษหรือไม่ โดยเฉพาะในประเทศรายได้ต่ำที่คุณครูต้องสอนในชั้นเรียนขนาดใหญ่ที่มีนักเรียนหลากหลาย

การประชาสัมพันธ์ให้เห็นถึงปัญหาความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา สามารถทำให้ผู้คนตระหนัก และเข้าใจถึงปัญหาได้ดีมากยิ่งขึ้น การแพร่กระจายข่าวสารเพื่อสร้างความตระหนักรู้ อาจทำได้โดยการประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อช่องทางต่างๆ เช่น โซเชียลมีเดียที่เข้าถึงผู้คนได้อย่างหลากหลาย ง่ายดาย และรวดเร็ว หรืออาจเป็นการประชาสัมพันธ์ผ่านโครงการ หรือหน่วยงานต่างๆ ที่น่าเชื่อถือ และมีส่วนเกี่ยวข้อง ซึ่งจะช่วยให้ข้อมูลข่าวสารที่เกี่ยวกับปัญหาความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาถูกสื่อสารไปถึงประชาชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ 

ครูผู้ทำหน้าที่คัดกรองนักเรียนส่วนหนึ่งไม่มีความชำนาญด้านการใช้เทคโนโลยี ทำให้ต้องไหว้วานครูหรือบุคลากรคนอื่นกรอกข้อมูลแทน เมื่อต้องทำการตรวจสอบหรือยืนยันข้อมูลจากผู้คัดกรองโดยตรงจึงอาจทำได้ยาก

General performance cookies are applied to be aware of and assess The true secret functionality indexes of the website which allows in providing an improved user working experience for the people. Analytics Analytics

อาจารย์ดนัยวัฒน์ มณี ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านปางมะหัน อ.แม่ฟ้าหลวง จ.เชียงราย เสนอว่าหากเป็นไปได้ น่าจะมีการกำหนดมาตรฐานขั้นต่ำของโรงเรียน เช่น โรงเรียนจะต้องมีบุคลากรประเภทใดบ้าง จำนวนกี่คน หรือกระทั่งว่าห้องเรียนที่มีมาตรฐานควรมีรูปร่างหน้าตาอย่างไร ซึ่งเป็นสิ่งเราสามารถกำหนดได้ตั้งแต่ระดับรัฐบาล กระทรวงศึกษาธิการ จนถึง สพฐ.

มีปัญหาและข้อจำกัด ทำให้เกิดความคลาดเคลื่อนในการระบุตัวนักเรียนยาก ‘ที่แท้จริง’

ไขรหัสความเหลื่อมล้ำการศึกษาไทย เหตุใดความช่วยเหลือไปไม่ถึงเด็กยากจน

คุกกี้เพื่อปรับเนื้อหาให้เข้ากับกลุ่มเป้าหมาย

แผนการดำเนินงานและการใช้งบประมาณประจำปี

ยอมรับทั้งหมด จัดการความเป็นส่วนตัว

ครอบครัวเปรียบเสมือนทุนทางสังคมและวัฒนธรรมของบุคคล ซึ่งส่งผลโดยตรงต่อการให้ความสำคัญกับการศึกษา โดยครอบครัวที่มีการดูแลเอาใจใส่ และเลี้ยงดูบุตรหลานมาอย่างมีคุณภาพ มักมีการส่งเสริม หรือแสวงหาโอกาสทางการศึกษาที่ดีให้ลูกหลาน ในทางตรงกันข้าม หากครอบครัวใดที่ไม่ได้ให้ความสำคัญกับการศึกษา หรือไม่ได้ใส่ใจบุตรหลานมากเพียงพอ อาจมีแนวโน้มว่าบุตรหลานจะไม่ใส่ใจ และไม่ให้ความสำคัญกับการศึกษา ดังนั้น การที่เด็กแต่ละคนเติบโตมาในสภาพสังคม และวัฒนธรรมที่แตกต่างกัน อาจได้รับการขัดเกลาทางสังคมในด้านการให้ความสำคัญกับการศึกษาที่แตกต่างกัน

เด็กที่นี่เป็นเด็กที่มีความกระตือรือร้น มีความรับผิดชอบ และทางโรงเรียนก็เสริมทักษะให้ฝึกความรับผิดชอบของเด็กนักเรียน ขึ้นไปอีกขั้น โดยมอบหมายหน้าที่ให้รุ่นพี่รับผิดชอบดูแลรุ่นน้อง มีการจัดเวรประจำวัน ทำอาหาร ฝึกความมีน้ำใจช่วยเหลือครู เพื่อนและพี่น้องร่วมโรงเรียน 

Report this page